ผู้เขียน หัวข้อ: น้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน, Lube Base Oil, เบสออยล์, Base Oil, น้ำมันพื้นฐาน, 150SN  (อ่าน 5 ครั้ง)

polychemicals10

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2275
  • เวบบอร์ดโพสขายฟรี
    • ดูรายละเอียด
น้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน, Lube Base Oil,

เบสออยล์, Base Oil, น้ำมันพื้นฐาน, 150SN, 150BS, 500SN,

8888_FW_OIL & SOLVENT_Base Oil_By FW 31032025




น้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน, Lube Base Oil, เบสออยล์, Base Oil, น้ำมันพื้นฐาน, 150SN, 150BS, 500SN

ผลิตเบสออยล์, จำหน่ายเบสออยล์, นำเข้าเบสออยล์, ส่งออกเบสออยล์, โรงงานเบสออยล์, ไทยแลนด์เบสออยล์

ผลิตน้ำมันพื้นฐาน, จำหน่ายน้ำมันพื้นฐาน, นำเข้าน้ำมันพื้นฐาน, ส่งออกน้ำมันพื้นฐาน, โรงงานน้ำมันพื้นฐาน

น้ำมันพื้นฐาน กลุ่ม 1, กลุ่ม 2, กลุ่ม 3, น้ำมันพื้นฐานทั่วไป, น้ำมันพื้นฐานสังเคราะห์, น้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน

Base Oil Group 1, Base Oil Group 2, Base Oil Group 3, General Base Oil, Synthetic Base Oil


สามารถสอบถามข้อมูลสินค้า ขอตัวอย่างสินค้าทดลอง และสั่งซื้อสินค้าได้ที่

บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด (น้ำมัน และ สารตัวทำละลาย)

Thai Poly Chemicals Company (Oil and Solvent)


Tel No: 034854888

Mobile: 0893128888

Line ID: thaipoly8888

Email: thaipoly8888@gmail.com

Web: www.thaipolychemicals.com

TPCC PKSN LUBE BASE OIL THAILAND



ผลิตภัณฑ์ น้ำมันพื้นฐาน, เบสออยล์, Base Oil, Lube Base Oil

ที่บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด จำหน่าย ประกอบด้วย

น้ำมันพื้นฐานทั่วไป และ น้ำมันพื้นฐานสังเคราะห์


150SN, 150BS, 500SN, EHC50, EHC110

ULTRA S2, ULTRA S4, ULTRA S6, ULTRA S8

Specialty Base Oil, Lube Base Oil, please contact TPCC

BASE OIL (น้ำมันพื้นฐาน)


การแบ่งกลุ่มน้ำมันพื้นฐาน ตามมาตรฐาน API

การแบ่งกลุ่มของน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน (Based Oil) นั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น 5 กลุ่ม โดยสถาบันปิโตรเลียมแห่งสหรัฐอเมริกา (American Petroleum Institute : API) หรือเรียกชื่อย่อว่า API ได้กำหนดมาตรฐานขึ้นมาเพื่อแบ่งกลุ่มของน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน เกณฑ์ในการแบ่งกลุ่มของน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานนั้น จะอ้างอิงจาก 3 ปัจจัยต่อไปนี้ เพื่อใช้ในการแบ่ง ได้แก่

1. ปริมาณซัลเฟอร์ (Sulfur Percentage) หรือปริมาณของกำมะถันที่อยู่ในน้ำมันพื้นฐาน ค่านี้บ่งบอกว่า ยิ่งเปอร์เซ็นต์ของซัลเฟอร์น้อย น้ำมันจะยิ่งมีความบริสุทธิ์สูง (Purity of Oil) และลดความเสี่ยงต่อการกัดกร่อนของระบบ เมื่อมีการนำน้ำมันไปใช้งาน ปริมาณซัลเฟอร์ในน้ำมันเป็นเรื่องที่เลี่ยงได้ยาก จากน้ำมันปิโตรเลียมที่มาจากธรรมชาติ แม้จะผ่านการกลั่นมาเพื่อให้ความบริสุทธิ์ของน้ำมันสูงขึ้น และลดปริมาณซัลเฟอร์ลงแล้วก็ตาม แต่ก็ไม่สามารถเอาออกไปได้ทั้งหมด ในทางปฏิบัติ ซัลเฟอร์ในน้ำมันนั้นมีประโยชน์ในหน้าที่ของการรับอุณหภูมิ  และช่วยเรื่องคุณสมบัติทางกลในบางด้าน แต่หากมีมาก จะเป็นผลเสียต่อซีลยางในระบบ และกัดกร่อนทองแดง ทองเหลือง เป็นต้น หากเป็นน้ำมัน Group ที่สูงขึ้น จะกำหนดปริมาณซัลเฟอร์เอาไว้ไม่ให้เกิน 0.03%

2. ความอิ่มตัว (Saturates Percentage) ค่าความอิ่มตัวนั้น วัดออกมาเป็นเปอร์เซ็นต์ เป็นดัชนีในการชี้วัดเรื่องการป้องกันการเสื่อมสภาพของน้ำมัน %ความอิ่มตัวมาก ก็จะป้องกันการเสื่อมสภาพได้มาก %ความอิ่มตัวมากกว่า 90% จะถูกจัดอยู่ในกลุ่ม 2 และ กลุ่ม 3

3. ดัชนีความหนืด (Viscosity Index) เป็นตัวชี้วัดการเปลี่ยนแปลงของความหนืดน้ำมันกับอุณหภูมิที่เปลี่ยนไป ในทางปฏิบัติของการผลิตน้ำมันหล่อลื่นอุตสาหกรรม จะมีการเติมสารปรับปรุงคุณภาพ (Additives) เข้าไปเพื่อปรับปรุงคุณสมบัติของน้ำมันหล่อลื่น ในส่วนของการปรับค่าความหนืดของน้ำมัน จะมีการเติมสาร Viscosity Modifier เข้าไปเพื่อให้สามารถนำไปใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์

กลุ่ม 1-3 นั้นเป็นน้ำมันปิโตรเลียมที่ได้มาจากกระบวนการกลั่น (Refinery Process) เป็นน้ำมันพื้นฐานชนิดน้ำมันแร่ (Mineral Oils) ส่วนกลุ่มที่ 4 และ กลุ่มที่ 5 จะได้มาจากการสังเคราะห์ทางเคมี หรือที่เรียกว่าน้ำมันสังเคราะห์ (Synthetic Oils) โดยที่น้ำมันสังเคราะห์นั้นจะมีคุณสมบัติในหลายๆด้าน ที่โดดเด่นกว่าน้ำมันพื้นฐานชนิดน้ำมันแร่ เนื่องจากถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อแก้ข้อจำกัดของน้ำมันพื้นฐานชนิดน้ำมันแร่ และมีความคงทนต่อการเสื่อมสภาพที่มากกว่า แต่ราคาจะสูงกว่าน้ำมันปิโตรเลียม จึงนิยมใช้กับบางงานที่ต้องการคุณสมบัติพิเศษ

คุณสมบัติเด่นของน้ำมันพื้นฐานแต่ละกลุ่ม

น้ำมันพื้นฐานแต่ละกลุ่มมีคุณสมบัติทางกายภาพ (Physical Properties) และคุณสมบัติทางเคมี (Chemical Properties) ที่แตกต่างกัน ในทางอุตสาหกรรมการเลือกกลุ่มของน้ำมันพื้นฐาน เพื่อมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ จึงมีการคำนึงถึงปัจจัยด้านคุณสมบัติการใช้งาน ประสิทธิภาพ และราคาของผลิตภัณฑ์ เป็นข้อพิจารณาร่วมกัน ปัจจัยที่มีผลเรื่องราคาของผลิตภัณฑ์ น้ำมันพื้นฐาน ยิ่งกลุ่มสูงขึ้น ราคาก็จะขยับสูงขึ้นตาม เนื่องมาจากในน้ำมัน 1 ถังจะมีน้ำมันพื้นฐานอยู่ 80% – 96% ขึ้นอยู่กับผลิตภัณฑ์ที่ต้องการผลิต และสารปรับปรุงคุณภาพที่มีการใส่เข้าไปเพื่อเพิ่มคุณสมบัติต่างๆ ด้วยเทคโนโลยีการผลิตน้ำมันหล่อลื่นอุตสาหกรรมในปัจจุบันที่มีการพัฒนา แต่ละผู้ผลิตน้ำมันมีเทคโนโลยีการผลิตที่ไม่หนีกันมากนัก ผู้ผลิตที่สามารถคุมต้นทุนของน้ำมันพื้นฐาน (Based Oil) ได้ จะสามารถทำราคาสินค้าได้ดี ซึ่งเป็นผลดีต่อผู้บริโภค ในกลุ่มของน้ำมันพื้นฐานชนิดน้ำมันแร่ (กลุ่ม 1-3) บางผลิตภัณฑ์จะมีการนำน้ำมันพื้นฐานกลุ่ม 1 และกลุ่ม 2 หรือกลุ่ม 2 และกลุ่ม 3 มาผสมกัน เพื่อใช้ในการผลิตเนื่องมาจากต้องการคุณสมบัติเด่นของน้ำมันพื้นฐานแต่ละกลุ่ม และเรื่องของราคาที่ย่อมเยาลงมากว่าการใช้น้ำมันพื้นฐานกลุ่ม 2 หรือกลุ่ม 3 เพียงอย่างเดียว โดยที่ยังสามารถคงคุณสมบัติตามมาตรฐานเอาไว้ได้  และราคาของผลิตภัณฑ์สามารถแข่งขันได้

กลุ่ม 1 (Group I) เป็นน้ำมันแร่ ที่ผ่านกระบวนการกลั่นพื้นฐาน 1 รอบ เป็นที่นิยมใช้ในงานอุตสาหกรรมเนื่องจากหาง่าย มีราคาที่ถูก และคุณสมบัติทั่วไปใช้งานได้ดีพอสมควร

กลุ่ม 2 (Group II) เป็นน้ำมันแร่ คุณสมบัติจะคล้ายกันกับกลุ่ม 1 และในปัจจุบันราคาไม่ต่างจากกลุ่ม 1 มากนัก แต่จะมีคุณสมบัติต้านทานการเสื่อมสภาพของน้ำมัน (Anti-Oxidant) ที่ดีกว่า เป็นที่นิยมในงานอุตสาหกรรม เช่นเดียวกันกับกลุ่ม 1

กลุ่ม 3 (Group III) เป็นน้ำมันแร่ ที่ผ่านกระบวนการกลั่นมากกว่าน้ำมันพื้นฐานกลุ่ม 2 ทำให้มีความบริสุทธิ์มากกว่า มีคุณสมบัติเด่น ในเรื่องการทนแรงดัน และทนอุณหภูมิสูง

กลุ่ม 4 (Group IV) เป็นน้ำมันสังเคราะห์ที่นิยมใช้งานในอุตสาหกรรม ทนอุณหภูมิได้สูงมาก ทนความร้อนและความเย็นได้สูงมาก มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน

กลุ่ม 5 (Group V) คือกลุ่มที่นอกเหนือจากกลุ่ม 1 ถึง กลุ่ม 4 การใช้งานจะขึ้นอยู่กับคุณสมบัติที่ต้องการเป็นหลัก เป็นน้ำมันสังเคราะห์ ตัวอย่างของน้ำมันพื้นฐานในกลุ่มนี้เช่น PAOS (Polyalphaolefins), Alkylated Aromatic, Di-Esters, Polyol Esters, Phosphate Esters, Polyglycols, Silicones, Silicate Ester เป็นต้น

น้ำมันพื้นฐานที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมี 3 ประเภทได้แก่ น้ำมันพืชหรือสัตว์ น้ำมันแร่ และน้ำมันสังเคราะห์ แต่ส่วนใหญ่แล้วจะใช่น้ำมันแร่ เพราะมีคุณภาพดีเพียงพอและราคาถูก น้ำมันชนิดอื่นจะใช้ในงานที่ต้องการคุณสมบัติพิเศษ ๆ บางอย่างเท่านั้น

1.น้ำมันพืช หรือ น้ำมันสัตว์ (Vegetable or Animal Oils) ในสมัยก่อนมีการใช้ในงานหลายอย่าง แต่เนื่องจากน้ำมันพืชหรือน้ำมันสัตว์ ที่ได้จากธรรมชาติมักมีความอยู่ตัวทางเคมีต่ำ เกิดการเสื่อมสภาพได้ง่ายในขณะใช้งาน  จึงต้องผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพ ซึ่งราคาก็จะแพงขึ้นมาก จึงหมดความนิยมไป น้ำมันพืชที่คุ้นเคยได้แก่ น้ำมันละหุ่ง น้ำมันปาล์ม น้ำมันสัตว์ที่เคยใช้กัน ได้แก่ น้ำมันหมู น้ำมันปลา ปัจจุบันมีการใช้น้ำมันพืชหรือสัตว์ เป็นน้ำมันพื้นฐานน้อยมาก และใช้เฉพาะในงานหล่อลื่นที่ทำมาจากน้ำมันปิโตเลียม เช่น เพื่อเพิ่มความลื่น และความสามารถในการเข้ากับน้ำ เป็นต้น

2.น้ำมันแร่ (Mineral Oils) เป็นน้ำมันพื้นฐานที่ใช้กันมากที่สุด เพราะนอกจากคุณภาพดีแล้วราคายังถูกด้วย น้ำมันแร่ ได้จากการเอาส่วนที่อยู่ก้นหอกลั่นบรรยากาศ มาผ่านขบวนการกลั่นภายใต้สุญญากาศ แยกเอาน้ำมันหล่อลื่นชนิดใสและชนิดข้นออกมา ที่เหลือเป็นกาก ก็นำไปผลิตยางมะตอย ชนิดและปริมาณของน้ำมันแร่ที่แยกออกมาได้ ขึ้นอยู่กับชนิดของน้ำมันดิบที่นำมากลั่น น้ำมันดิบบางอย่างก็ไม่เหมาะที่จะมาผลิตน้ำมันแร่  น้ำมันแร่ที่ได้จากการกลั่นแยกภายใต้สุญญากาศนี้ ปกติจะยังมีคุณภาพที่ไม่ดีพอ ที่จะนำมาใช้ผลิตน้ำมันหล่อลื่น ต้องผ่านกระบวนการต่างๆ เพื่อขจัดเอาสารที่ไม่ต้องการออก เพื่อให้มีความอยู่ตัวเชิงเคมีและเชิงความร้อนดี น้ำมันแร่ที่นำมาใช้ทำน้ำมันหล่อลื่น แบ่งตาม ดัชนีความหนืด ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงความหนืดตามอุณหภูมิ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ประเภทที่มีดัชชีความหนืดสูง กลาง และต่ำ น้ำมันแร่ที่มีดัชนีความหนืดสูงได้ มาจากการกลั่นน้ำมันดิบ ประเภทแนฟทานิก (Naphthenic)

3. น้ำมันสังเคราะห์ (Synthetic Oil) เป็นน้ำมันที่สังเคราะห์ขึ้นโดยขบวนการทางเคมี วัสดุเริ่มต้นที่ใช้ มักจะมาจากน้ำมันปิโตรเลียม น้ำมันสังเคราะห์ที่ใช้กันมีอยู่หลายชนิด แต่ราคาค่อนข้างแพง ในปัจจุบันใช้เป็นน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานเฉพาะในงานพิเศษ ที่ต้องการคุณสมบัติด้านดัชนีความหนืดสูง จุดไหลเทต่ำและมีการระเหยต่ำ เป็นต้น น้ำมันสังเคราะห์ที่ใช้กันมาก เช่น
Polyalphaolefins (PAO) ซึ่งมีดัชนีความหนืดสูงมาก มีจุดไหลเทต่ำมาก มีการระเหยต่ำ และมีความต้านทานต่อปฏิกิริยาออกซิเดชันดี เริ่มใช้กันมากขึ้นเพราะ ราคาเริ่มถูกลงและผลิตได้ง่าย
พวก Esters ทั้งพวก Diester และ Complex Ester ใช้เป็น น้ำมันพื้นฐานในงานที่ต้องประสบกับสภาวะ อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงมาก ๆ เช่น น้ำมันเทอร์ไบน์ของเครื่องยนต์ไอพ่น พวก Esters มีดัชนีความหนืดสูงมาก มีการระเหยตัวต่ำ และมีความอยู่ตัวดี

Phosphate Esters ก็ใช้ทำพวกน้ำมันไฮดรอลิค ที่ไม่ติดไฟ

พวก Polyglycols มีจุดเดือดสูงและจุดไหลเทต่ำ ใช้ในงานที่มีอุณหภูมิสูง เช่น ใช้ทำน้ำมันเบรก และน้ำมันไฮดรอลิคที่ไม่ติดไฟ

พวก Silicone ใช้ในงานอุณหภูมิสูง


พวก Halogenated Hydrocarbon เช่น  Chlorofluorocarbons

ใช้ทำน้ำมันเครื่องอัดออกซิเจน เพราะมีความอยู่ตัวทางเคมีและความร้อนดีมาก

พวก Polyphenyl Ethers มีความอยู่ตัวทางความร้อนสูงมาก มีความต้านทานต่อรังสีนิวเคลียร์

ใช้ในงานที่อุณหภูมิสูงถึง 500 C เช่น เป็นน้ำมันไฮดรอลิคในยานอวกาศ เป็นต้น


สารเพิ่มคุณภาพ (Additives)
เครื่องจักรกลและเครื่องยนต์ในปัจจุบัน ได้รับการออกแบบให้มีขนาดเล็กลง ทำงานเร็วขึ้นและภาระน้ำมันก็สูงขึ้น น้ำมันหล่อลื่นในเครื่องจักรเครื่องยนต์ดังกล่าว มักต้องประสบกับสภาวะด้านอุณหภูมิ ความเครียด และภาระน้ำหนักสูง น้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานล้วน ๆ มักจะยังมีคุณภาพดีไม่เพียงพอที่จะทำหน้าที่ต่างๆ ให้ได้ครบถ้วน โดยมีอายุการใช้งานที่ยืนนานตามสมควร ดังนั้นจึงต้องมีการเติมสารในปริมาณที่พอดี เพื่อเพิ่มคุณสมบัติทั้งในด้านเคมีและกายภาพของน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานให้ดี เหมาะสมกับงานที่ต้องการ สารเพิ่มคุณภาพมีอยู่มากมายหลายชนิดและหลายประเภท แต่ที่ใช้กันมากได้แก่

สารต้านปฏิกิริยาออกซิเดชัน
สารป้องกันการสึกหรอ
สารป้องกันสนิม
สารป้องกันฟอง
สารรับแรงกดสูง
สารเพิ่มดัชนีความหนืด
สารชะล้าง กระจายสิ่งสกปรก
สารเพิ่มความเป็นด่าง


น้ำมันหล่อลื่น มักจะผลิตขึ้นมาเพื่อใช้งานเฉพาะอย่าง เช่น น้ำมันเครื่องยนต์ น้ำมันเครื่องยนต์ น้ำมันเกียร์ น้ำมันไฮดริค เป็นต้น ในการที่จะผลิตน้ำมันหล่อลื่นชนิดหนึ่งขึ้นมานั้น จะมีการพิจารณาถึงหน้าที่ ที่น้ำมันหล่อลื่นนั้นจะต้องกระทำ และสภาวะต่าง ๆ ที่น้ำมันหล่อลื่นนั้นต้องประสบในขณะทำงานหล่อลื่น จากนั้นจึงสามารถกำหนดคุณสมบัติของน้ำมันหล่อลื่นที่ต้องการ แล้วจึงเลือกสรรน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน และชนิด รวมทั้งปริมาณของสารเพิ่มคุณภาพ ที่เหมาะสมกับงานที่ต้องการ น้ำมันหล่อลื่นแต่ละชนิด จึงใช้น้ำมันพื้นฐานชนิดและปริมาณของสารเพิ่มคุณภาพไม่เหมือนกัน สารเพิ่มคุณภาพต่าง ๆ ที่เติมในน้ำหล่อลื่นนั้น ส่วนใหญ่แล้วเป็นสารเคมี ซึ่งปกติจะมีความเป็นกรดอ่อนหรือด่างอ่อนที่เป็นกลางก็มีอยู่บ้าง ความซับซ้อนในการออกสูตรน้ำมันหล่อลื่น อยู่ตรงที่การเลือกสรรสารเพิ่มคุณภาพชนิดต่าง ๆ ที่จะต้องมาอยู่ด้วยกัน ไม่เกิดปฏิกิริยาเคมีต่อกัน และบางครั้งก็ช่วยเสริมคุณสมบัติซึ่งกันและกัน ดังนั้นการนำน้ำมันต่างชนิดกันมาผสม หรือใช้ปะปนกัน จึงเป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำ เพราะมีความเสี่ยงที่สารเคมีเพิ่มคุณภาพในน้ำมันทั้งสองชนิดนั้น เกิดทำปฏิกิริยาต่อกัน ตกตะกอนและเสื่อมคุณสมบัติไปได้ นอกจากจะได้มีการทดสอบอย่างแน่ชัดแล้วว่า น้ำมันทั้งสองสามารถเข้ากันได้
คุณสมบัติ 4 ประการ ของน้ำมันพื้นฐาน ที่ช่วยกำหนดประสิทธิภาพที่ต้องการใช้งาน

จุดไหลเท (Pour point) คือ อุณหภูมิต่ำสุดที่น้ำมันสามารถไหลเทได้ เป็นตัวกำหนดจุดไหลเทของน้ำมัน

ความหนืด (Viscosity) คือ การต้านทานการไหลของน้ำมัน เรียกว่าความหนืด เช่น น้ำผึ้งจะมีความหนืดมากกว่าน้ำ

ดัชนีความหนืด (Viscosity Index) เมื่ออุณหภูมิของน้ำมันมีการเปลี่ยนแปลง ความหนืดของน้ำมันก็จะเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย หรือที่เรียกว่า ค่าดัชนีความหนืด (Viscosity Index) หรือ VI ตัวอย่างเช่น น้ำมันที่มีค่าดัชนีความหนืดสูง ความหนืดจะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิ น้อยกว่าน้ำมันที่มีค่าความหนืดต่ำ น้ำมันเครื่องเกรดรวม ที่ผู้ผลิตรถยนต์ต้องการก็คือ น้ำมันพื้นฐานที่มีค่าความหนืดสูง ถือเป็นส่วนประกอบแรก ๆ ของกระบวนการคิดค้นเลยทีเดียว น้ำมันเครื่องพื้นฐาน ค่าดัชนีความหนืดสูงมีคุณสมบัติในการระเหยเป็นไอได้ต่ำกว่า และออกแบบให้สามารถใช้งานได้ทั้งที่อุณหภูมิต่ำ และอุณหภูมิสูง

ความบริสุทธิ์ (Purity) องค์ประกอบของน้ำมันหล่อลื่นหลาย ๆ ชนิด เช่น กำมะถัน ไนโตรเจน และสารประกอบโพลีไซคลิกอะโรเมติกส์ จะต้องอยู่ในขอบเขตที่กำหนดไว้อย่างเคร่งครัด

กล่าวโดยสรุป สิ่งสำคัญที่ต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับน้ำมันพื้นฐานก็คือ น้ำมันเครื่องสำเร็จรูป มีน้ำมันพื้นฐานเป็นส่วนประกอบหลัก ดังนั้นการเลือกประเภทของน้ำมันพื้นฐานที่เหมาะสม จึงเป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาน้ำมัน ที่จะช่วยหล่อลื่นชิ้นส่วนต่าง ๆ ของโลหะ และทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยน้ำมันพื้นฐานเป็นเพียงส่วนหนึ่งของน้ำมันเครื่อง นักวิทยาศาสตร์และวิศวกร จำเป็นจะต้องพิจารณาถึงผลกระทบของเทคโนโลยี และสารเพิ่มคุณภาพด้วย ขั้นตอนสุดท้ายของสารหล่อลื่นคือ การผสมผสานกันระหว่าง น้ำมันพื้นฐาน สารเพิ่มคุณภาพ และความรู้ในการใช้งาน

ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ น้ำมันพื้นฐาน, Base Oil สามารถสอบถามข้อมูลผลิตภัณฑ์ได้ที่ บจก.ไทยโพลีเคมิคอล

More information of base oil, lube base oil, please contact Thai Poly Chemicals Company Limited (TPCC)

Tel No: 6634854888 Mobile No: 66893128888

Line ID: thaipoly888 Line ID: thaipoly8888

นอกจากน้ำมันพื้นฐาน (Base Oil) แล้ว TPCC ยังจัดจำหน่าย สารตัวทำละลายอื่น ๆ อีกด้วย

ผลิตภัณฑ์ โพรพิลีนไกลคอล, โพรไพลีนไกลคอล, Propylene Glycol, PG

ที่บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด จำหน่าย ประกอบด้วย


Monopropylene Glycol, MPG, โมโนโพรพิลีนไกลคอล, โมโนโพรไพลีนไกลคอล, เอ็มพีจี

Dipropylene Glycol, DPG, ไดโพรพิลีนไกลคอล, ไดโพรไพลีนไกลคอล, ดีพีจี

Polypropylene Glycol, PPG, P-425, โพลีโพรพิลีนไกลคอล, โพลีโพรไพลีนไกลคอล, พีพีจี


PG, MPG, CAS 57-55-6

DPG, CAS 25265-71-8

PPG, CAS 25322-69-4


ผลิตภัณฑ์ เอทิลีนไกลคอล, เอทธิลีนไกลคอล, Ethylene Glycol, EG

ที่บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด จำหน่าย ประกอบด้วย


Monoethylene Glycol, MEG, โมโนเอทิลีนไกลคอล, โมโนเอทธิลีนไกลคอล, เอ็มอีจี

Diethylene Glycol, DEG, ไดเอทิลีนไกลคอล, ไดเอทธิลีนไกลคอล, ดีอีจี

Triethylene Glycol, TEG, Triglycol, ไตรเอทิลีนไกลคอล, ไตรไกลคอล, ทีอีจี

Polyethylene Glycol, PEG, โพลีเอทิลีนไกลคอล, โพลีเอทธิลีนไกลคอล, พีอีจี

Polyethylene Oxide, PEO, โพลีเอทิลีนออกไซด์, โพลีเอทธิลีนออกไซด์, พีอีโอ

Polyoxyethylene, POE, โพลีออกซีเอทิลีน, โพลีออกซีเอทธิลีน, พีโออี

PEG 200, PEG 300, PEG 400, PEG 600, PEG 1000, PEG 4000, PEG 8000

CARBOWAX 200, CARBOWAX 300, CARBOWAX 400, CARBOWAX 600

CARBOWAX 1000, CARBOWAX 4000, CARBOWAX 8000

พีอีจี 200, พีอีจี 300, พีอีจี 400, พีอีจี 600, พีอีจี 1000, พีอีจี 4000, พีอีจี 8000

เปก 200, เปก 300, เปก 400, เปก 600, เปก 1000, เปก 4000, เปก 8000

คาร์โบแวกซ์ 200, คาร์โบแวกซ์ 300, คาร์โบแวกซ์ 400, คาร์โบแวกซ์ 600

คาร์โบแวกซ์ 1000, คาร์โบแวกซ์ 4000, คาร์โบแวกซ์ 8000

EG, MEG, CAS 107-21-1

DEG, CAS 111-46-6

TEG, CAS 112-27-6

PEG, CAS 25322-68-3

ผลิตภัณฑ์ เอทานอลเอมีน, เอทาโนลามีน, Ethanolamine, EA

ที่บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด จำหน่าย ประกอบด้วย

2-อะมิโนเอทานอล, 2-อะมิโนเอทธานอล, อีทีเอ

เอทานอลเอมีน, เอทธานอลเอมีน, เอทาโนลามีน, เอทธาโนลามีน

โมโนเอทานอลเอมีน, โมโนเอทาโนลามีน, เอ็มอีเอ, โมโนเอทธานอลเอมีน, โมโนเอทธาโนลามีน

ไดเอทานอลเอมีน, ไดเอทาโนลามีน, ดีอีเอ, ดีอีโอเอ, ไดเอทธานอลเอมีน, ไดเอทธาโนลามีน

ไตรเอทานอลเอมีน, ไตรเอทาโนลามีน, ทีอีเอ, ทีอีโอเอ, ไตรเอทธานอลเอมีน, ไตรเอทธาโนลามีน

ไดเอทิลีนไตรเอมีน, ไดเอทธิลีนไตรเอมีน, ดีอีทีเอ, ไดเอ็น

ไตรเอทิลีนไตรเอมีน, ไตรเอทธิลีนไตรเอมีน, ทีอีทีเอ, ไตรเอ็น

2-Aminoethanol, ETA, CAS 141-43-5

Monoethanolamine, MEA, CAS 141-43-5

Diethanolamine, DEA, DEOA, CAS 111-42-2

Triethanolamine, TEA, TEOA, CAS 102-71-6

Diethylenetriamine, DETA, Dien, CAS 111-40-0

Triethylenetriamine, TETA, Trien, Trientine, CAS 112-24-3

ผลิตภัณฑ์ แฟตตี้แอลกอฮอล์, แฟทตี้แอลกอฮอล์, Fatty Alcohol

ที่บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด จำหน่าย ประกอบด้วย

Cetyl Alcohol, Hexadecanol-1, Fatty alcohol C16, ซีติลแอลกอฮอล์, ซีทิลแอลกอฮอล์

Stearyl Alcohol, Octadecanol-1, Fatty alcohol C18, สเตียริลแอลกอฮอล์

Cetyl Stearyl Alcohol, Fatty alcohol C16-C18, ซีติลสเตียริลแอลกอฮอล์

Glycerine USP, Refined Glycerine, กลีเซอรีน, กลีเซอรีนบริสุทธิ์, กลีเซอรีนเกรดยูเอสพี

ThaiOL 1698, CAS 36653-82-4

ThaiOL 1898, CAS 112-92-5

ThaiOL 1618, CAS 67762-27-0

Glycerine USP, CAS 56-81-5

ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ สารตัวทำละลาย สามารถสอบถามข้อมูลผลิตภัณฑ์ได้ที่ บจก.ไทยโพลีเคมิคอล

More information of solvent, please contact Thai Poly Chemicals Company Limited (TPCC)


Tel No: 6634854888 Mobile No: 66893128888

Line ID: thaipoly888 Line ID: thaipoly8888

 
คำค้นหา น้ำมันหล่อลื่นพื้นฐาน, Lube Base Oil, เบสออยล์, Base Oil, น้ำมันพื้นฐาน, 150SN, 150BS, 500SN